ปตท. กับการขับเคลื่อน BCG
ปตท. กับการขับเคลื่อน BCG จากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิ้นเปลืองในการดำเนินธุรกิจต่างๆ บนโลก และวิกฤตการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและการดำเนินธุรกิจที่ไม่ยั่งยืน
ปตท. มีความมุ่งมั่นตั้งใจในการเป็นส่วนหนึ่งเพื่อร่วมขับเคลื่อนตามนโยบาย BCG ของรัฐบาล และได้กำหนดให้เป็นส่วนหนึ่งของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยได้เร่งพัฒนาโมเดลเศรษฐกิจ BCG อย่าง “ปรับ-เปลี่ยน-ปลูก” ที่มุ่งเน้นการดำเนินธุรกิจตามแนวทางแบบเชิงรุก เพื่อสร้างรากฐานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ได้แก่
ปรับ = เร่งปรับกระบวนการผลิต ด้วยการค้นคว้าเทคโนโลยีใหม่ ๆ
เปลี่ยน = เร่งเปลี่ยนสู่ธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม พลังงานสะอาด และธุรกิจยานยนต์ไฟฟ้า
ปลูก = เร่งปลูกป่าเพิ่ม 2 ล้านไร่ภายในปี 2030 เพื่อเพิ่มดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สรรค์สร้างการเติบโตให้แก่ภาคสังคมธุรกิจอย่างยั่งยืน
วันนี้เราจะไปหาคําตอบกันใน ‘รักษ์สร้างสุข ” ในการดำเนินธุรกิจผ่านโมเดลเศรษฐกิจ BCG ที่มุ่งเน้นการดำเนินธุรกิจตามแนวทางแบบเชิงรุก เพื่อสร้างรากฐานการพัฒนาอย่างยั่งยืน
.
#รักษ์สร้างสุข BCG Economy Model โมเดลพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อความยั่งยืน เพิ่มคุณภาพชีวิต และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ติดตามทุกความเคลื่อนไหวของ รักษ์สร้างสุข ได้ที่…
Facebook : รักษ์สร้างสุข
YouTube : รักษ์สร้างสุข
TikTok : รักษ์สร้างสุข
.
#รักษ์สร้างสุข #Raksrangsuk
#BCG #BCGModel #PTT #ปตท #พลังงานสะอาด
#BioEconomy #CircularEconomy #GreenEconomy
#ความยั่งยืน #เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม #โมเดลพัฒนาเศรษฐกิจ