สภาผู้บริโภค พอใจ หลังผู้ว่าฯ กทม.รับทราบปัญหาและข้อเสนอของสภาผู้บริโภคและประชาชน

สภาผู้บริโภค พอใจ หลังผู้ว่าฯ กทม.รับทราบปัญหาและข้อเสนอของสภาผู้บริโภคและประชาชน จากการก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่ในซอยแคบ และร้องขอเปิดรับฟังความเห็นร่วมทำผังเมืองรวมกทม.ลดปัญหา กระทบ ละเมิดสิทธิประชาชน รวมถึง สนับสนุนการจัดทำระบบFeeder 20 บาทตลอดสาย หลังสภาผู้บริโภคได้รับเรื่องร้องเรียนจากประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากการก่อสร้างอาคารสูงในซอยแคบ 3 ชุมชน ประกอบด้วย โครงการเอสประดิพัทธ์ (ประดิพัทธ์ซอย 23 )

Read more

สภาผู้บริโภค นัดหารือ ผู้ว่าฯกทม. แก้ปัญหาคับใจประชาชน

สภาผู้บริโภคนัดหารือ ผู้ว่าฯกทม.แก้ปัญหาคับใจประชาชน สร้างคอนโดในซอยแคบ หลังร้องเรียนหลายหน่วยงานแต่ยังเงียบ สารี อ๋องสมหวัง เลขาธิการสภาผู้บริโภค พร้อมด้วยตัวแทนภาคประชาชน เตรียมพบนายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในวันที่ 20 กันยายน เพื่อพูดคุยถึงปัญหาความเดือดร้อนและแนวทางการแก้ไข หลังประชาชนร้องเรียนการก่อสร้างโครงการอาคารขนาดใหญ่ในซอยประดิพัทธ์ ซอย 23 (โครงการเอส-ประดิพัทธ์) ชุมชนพหลโยธิน

Read more

เดือดร้อน! ชุมชน ซอยประดิพัทธ์ 23 ร้อง ส.ส.กทม.พรรคก้าวไกลร่วมรับฟังข้อร้องเรียน

ส.ส.กทม.พรรคก้าวไกล ร่วมรับฟังข้อร้องเรียนจากตัวแทนชุมชน ซอยประดิพัทธ์ 23 หลังเตรียมมีก่อสร้างอาคารสูง ในซอยแคบ หลังร้องไปหลายช่องทางแต่ทุกอย่างยังนิ่ง ตัวแทนชุมชน ซอยประดิพัทธ์ 23 พานายกัณตภณ ดวงอัมพร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขตพญาไท-เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร พรรคก้าวไกล ลงพื้นที่รับฟังปัญหาก่อสร้างอาคารสูง 8 ชั้น จำนวน

Read more

สภาผู้บริโภค สวนกลับ กทม. ยันการรังวัดระยะความกว้างในซอยก่อสร้างอาคารสูง

สภาผู้บริโภค สวนกลับ กทม. ยันการรังวัดระยะความกว้างในซอยก่อสร้างอาคารสูง 3 แห่งสภาพการใช้งานจริงไม่ถึง 6 เมตร การลงพื้นที่ของสภาผู้บริโภค เพื่อตรวจสอบสถานที่ก่อสร้างอาคารสูง หรือ คอนโดมีเนียมในซอยแคบ 3 แห่ง คือ โครงการเอส ประดิพัทธ์ (ประดิพัทธ์ ซอย 23)

Read more

สภาผู้บริโภค จี้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และกรมประมง เร่งชี้แจงมาตราการ

สภาผู้บริโภค จี้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และกรมประมง เร่งชี้แจงมาตราการและแนวทางการป้องกันและตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารทะเลนำเข้าจากประเทศญี่ปุ่น สภาผู้บริโภค จี้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และกรมประมง เร่งชี้แจงมาตราการและแนวทางการป้องกันและตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารทะเลนำเข้าจากประเทศญี่ปุ่น หลังมีข่าวญี่ปุ่นจะปล่อยน้ำเสียที่ปนเปื้อนสารกัมมันตภาพรังสีที่บำบัดแล้วลงทะเลในวันนี้ หวั่นผู้บริโภครับประทานอาหารทะเลปนเปื้อนสารอันตรายอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ (อ่านต่อhttps://bit.ly/3OTqsJY).จากกรณีที่ประเทศญี่ปุ่นจะเริ่มปล่อยน้ำเสียที่ปนเปื้อนสารกัมมันตภาพรังสีที่บำบัดแล้วจากโรงไฟฟ้าฟุกุชิมะไดอิจิตั้งแต่วันที่ 24 สิงหาคม 2566 แม้ได้รับการรับรองจากทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ หรือ ไอเออีเอ ว่า การปล่อยน้ำเสียดังกล่าวจะปลอดภัยและสอดคล้องกับมาตรฐานโลก แต่แผนดังกล่าวของญี่ปุ่นเผชิญกับการต่อต้านจากทั้งในและต่างประเทศเกี่ยวกับความปลอดภัยของอาหารทะเล

Read more

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save